ยินดีต้อนรับสู่ฟอรั่ม 96 เสวนาธรรมบำเพ็ญ
กรุณา ลงทะเบียน เพื่อสามารถใช้งานฟอรั่มได้อย่างเต็มรูปแบบ !
ลงทะเบียนโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายและใช้เวลาเพียงเล็กน้อย

"โดยพื้นฐานธรรมชาติเดิมแท้ของตัวเรา
เป็นสิ่งที่บริสุทธิ์และสะอาด
ถ้าเรารู้จิตของเราและเห็นถึงธรรมชาติเดิมแท้ของเรา
เราทั้งหลายก็จะบรรลุถึงความเป็นพุทธะ"

You are here: 96เสวนาธรรมบำเพ็ญ » แหล่งความรู้ประดับปัญญา » ถาม-ตอบ วิถีอนุตตรธรรม » 

佛堂規則二十五條 “พุทธระเบียบ ๒๕ ข้อในพุทธสถาน”

หน้า: [1]   ลงล่าง
  ตอบ  |  พิมพ์  
Share this topic on FacebookShare this topic on Twitter
ผู้เขียน หัวข้อ: 佛堂規則二十五條 “พุทธระเบียบ ๒๕ ข้อในพุทธสถาน”  (อ่าน 17289 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
Administrator
ผู้มีประสบการณ์
*****
Like : 0
กระทู้: 58
ออฟไลน์ ออฟไลน์
ดูรายละเอียด
« เมื่อ: พฤษภาคม 18, 2013, 02:39:20 PM »
ตอบโดยอ้างถึงข้อความ


佛堂規則二十五條
   (ฝอ ถัง กุย เจ๋อ เอ้อ สือ อู่ เถียว)
   “พุทธระเบียบ ๒๕ ข้อในพุทธสถาน”
   (กำหนดโดยพระอาจารย์จี้กง)
   

1.   入壇整衣 (ยู่ ถัน เจิ่ง อี) เข้าสู่พุทธสถาน แต่งกายให้เรียบร้อย
《入壇整衣》:穿著宜整齊樸素,衣服必須有領有袖。進入佛堂應穿襪子,物穿短褲、無袖上衣、釦子要扣齊(以道場制服爲主)。
((ยู่ ถัน เจิ่ง อี) ชวน เจ่อ อี๋ เจิ่ง ฉี ผู่ ซู่, อี ฝู ปี้ ซวี โหยว หลิ่ง โหย่ว ซิ่ว, จิ้น ยู่ ฝอ ถัง อิง ชวน ฮว่า จื่อ, อู้ ชวน ต่วน คู่, อู๋ ซิ่ว ซั่ง อี, โค่ว จื่อ เย่า โค่ว ฉี (อี่ เต้า ฉ่าง จื้อ ฝู เหวย จู่))
“การเข้ามาพุทธสถาน” ควรแต่งกายสุภาพเรียบร้อย สวมใส่เสื้อผ้าเรียบง่าย (ไม่สีสันระรานตา) ใส่เสื้อมีคอปก มีแขน เข้ามาในห้องพระควรใส่ถุงน่อง ไม่ควรใส่กางเกงขาสั้น เสื้อแขนกุด (เสื้อไม่มีแขน) กระดุมเสื้อติดให้เรียบร้อย (ยึดตามแบบฉบับชุดปั้นซื่อ หรือแบบฟอร์มในอาณาจักรธรรมเป็นหลัก)

2.   來參去辭 (ไหล ชัน ชวี่ ฉือ) ไปลามาไหว้
《來參去辭》:佛堂乃莊嚴之道場,老中渡世之法航,清靜神聖的地方,隨時有仙佛護持,故進佛堂要保持誠敬之心,禮靜諸佛,向老中參駕,離開要辭駕,如出告反面。
((ไหล ชัน ชวี่ ฉือ) ฝอ ถัง ไหน่ จวง เหยียน จือ เต้า ฉ่าง, เหลา หมู่ ตู้ ซื่อ จือ ฝ่า หัง, ชิง จิ้ง เสิน เซิ่ง เตอะ ตี้ ฟัง, สุย สือ โหย่ว เซียน ฝอ ฮู่ ฉือ, กู้ จิ้น ฝอ ถัง เย่า เป่า ฉือ เฉิง จิ้ง จือ ซิน, หลี่ จิ้ง จู ฝอ, เซี่ยง เหลา หมู่ ชัน เจี้ย, หลี ไค เย่า ฉือ เจี้ย หยู ชู เก้า ฝั่น เมี่ยน)
พุทธสถานคืออาณาจักรธรรมที่ศักดิ์สิทธิ์สง่างาม เป็นนาวาธรรมของ พระอนุตตรธรรมมารดา ที่ใช้เพื่อการปกโปรดกอบกู้ฉุดช่วยโลก เป็นสถานที่บริสุทธิ์ มีเซียนพุทธะคอยพิทักษ์คุ้มครองตลอดเวลา ดังนั้นมาสถานธรรมต้องประคองรักษาจิตเคารพศรัทธาจริงใจ แสดงจริยะด้วยความเคารพเซียนพุทธะ เมื่อมาถึงให้กราบพระบาทพระอนุตตรธรรมมารดา เวลาจะจากไปให้กราบลาพระบาท เช่นเดียวกันกับการไปลามาไหว้

3.   先乾後坤 (เซียน เฉียน โฮ่ว คุน) ชายก่อน-หญิงทีหลัง
《先乾後坤》:如乾坤同時進佛堂,以乾道先參駕,坤道再參駕。(如有坤道前輩,則以坤道先行)
((เซียน เฉียน โฮ่ว คุน) หยู เฉียน คุน ถง สือ จิ้น ฝอ ถัง, อี่ เฉียน เต้า เซียน ชัน เจี้ย, คุน เต้า ไจ้ ชัน เจี้ย, (หยู โหย่ว คุน เต้า เฉียน เป้ย, เจ๋อ อี่ คุน เต้า เซียน สิง))
ชายก่อนหญิงทีหลัง หมายถึง เช่นว่าเวลาชายหญิงเข้ามาในห้องพระพร้อมกัน ให้ผู้ชายกราบพระบาท (ชันเจี้ย) ก่อน (กรณีฝ่ายผู้หญิงมีนักธรรมอาวุโสอยู่ ก็ให้ฝ่ายผู้หญิงชันเจี้ยก่อน)

4.   男女分班 (หนัน หนวี่ เฟิน ปัน) ชายหญิงแบ่งแยก
《男女分班》:乾坤參駕後,男左女右分班,無論夫婦或朋友,亦要分班保持肅靜。
((หนัน หนวี่ เฟิน ปัน) เฉียน คุน ชัน เจี้ย โฮ่ว, หนัน จั่ว หนวี่ อิ้ว เฟิน ปัน, อู๋ ลุ่น ฟู ฟู่ ฮั่ว เผิง โหย่ว, อี้ เย่า เฟิน ปัน เป่า ฉือ ซู่ จิ้ง)
เวลาจะชันเจี้ย (กราบรับพระบาท) หรือฉือเจี้ย (กราบลาพระบาท) ผู้ชายจะยืนเข้าแถวฝั่งซ้าย ผู้หญิงจะยืนฝั่งขวา (ซ้ายมือรูปปั้นสิ่งศักดิ์สิทธิ์) ไม่ว่าจะเป็นสามีภรรยากัน หรือเป็นเพื่อนกันก็จะต้องแยกกันให้ชัดเจน และรักษาความสงบ

5.   舉步要輕 (จวี่ ปู้ เย่า ชิง) ก้าวเดินไม่ส่งเสียงดัง
《舉步要輕》:在佛堂輸入勿要從容輕步,談話要輕聲,不可任意喧嘩,以顯莊嚴道場禮儀。
((จวี่ ปู้ เย่า ชิง) ไจ้ ฝอ ถัง ซู ยู่ อู้ เย่า ฉง หยง ชิง ปู้, ถัน ฮว่า เย่า ชิง เซิง, ปู้ เข่อ เยิ่น อี้ เซวียน ฮว๋า, อี๋ เสี่ยน จวง เหยียน เต้า ฉ่าง หลี่ อี๋)
เข้าออกสถานธรรม ต้องย่างก้าวเบาๆ พูดคุยเสียงเบา ห้ามมิให้ส่งเสียงดังอึกทึกตามใจชอบ เพื่อให้ปรากฏถึงความศักดิ์สิทธิ์สง่างามของจริยพิธีในสถานธรรม
6.   不准亂躦 (ปู้ จุ่น ล่วน จวน) ไม่สับสนในสายทอง (ไม่สลับสายงานธรรม)
《不准亂躦》上課時,勿隨意走動,以免妨礙鄰座之道親聽課,影響班規及講道者之靈感。
((ปู้ จุ่น ล่วน จวน) ซั่ง เค่อ สือ, อู้ สุย อี้ โจ่ว ต้ง, อี๋ เหมี่ยน ฝั่ง อ้าย หลิน จั้ว จือ เต้า ชิน ทิง เค่อ, อิ๋ง เสี่ยง ปัน กุย จี๋ เจี่ยง เต้า เจ่อ จือ หลิง กั่น)
เวลาเข้าชั้นเรียน อย่าเดินไปเดินมาตามใจชอบ เพื่อจะได้ไม่ส่งผลกระทบต่อญาติธรรมที่กำลังฟังธรรม ส่งผลกระทบต่อกฏระเบียบของชั้นเรียน และส่งผลกระทบต่อสมาธิในการบรรยาย (หรือการสร้างบรรยากาศของผู้บรรยาย)

7.   出入肅靜 (ชู ยู่ ซู่ จิ้ง) เข้า-ออก รักษาความสงบ
《出入肅靜》:出入佛堂,要保持肅靜,避免妨礙鄰居之安寧,尤其機車要牽離社區再發動,要鄰居有好印象。
((ชู ยู่ ซู่ จิ้ง) ชู ยู่ ฝอ ถัง, เย่า เป่า ฉือ ซู่ จิ้ง, ปี้ เหมี่ยน ฝั่ง อ้าย หลิน จวี จือ อัน หนิง, อิ๋ว ฉี จี เชอ เย่า เชียน หลี เซ่อ ชวี ไจ้ ฟา ต้ง, เย่า หลิน จวี โหย่ว ห่าว อิ้น เซี่ยง)
เข้าออกสถานธรรม ต้องรักษาความสงบ เพื่อหลีกเลี่ยงการรบกวนความสงบของเพื่อนบ้าน ต้องเฉพาะรถมอเตอร์ไซด์ ควรเข็นไปในที่ห่างไกลจากแหล่งชมชนและค่อยสตาร์ทเครื่อง ให้บังเกิดความรู้สึกดีๆต่อเพื่อนบ้าน

8.   按規勿亂 (เจีย กุย อู้ ล่วน) ทำตามพุทธรระเบียบ อย่าได้สับสน
《按規勿亂》:天律森嚴,遵照禮節,前後順序,要有規矩,不可自創或任意更改,而破壞佛規禮節。
((เจีย กุย อู้ ล่วน) เทียน ลวี่ เซิน เหยียน, จุน เจ้า หลี่ เจี๋ย, เฉียน โฮ่ว ซุ่น ซวี่, เย่า โหย่ว กุย จวี่, ปู้ เข่อ จื้อ ช่วง ฮั่ว เยิ่น อี้ เกิ้ง ไก่, เย่า พ่อ ไฮว่ ฝอ กุย หลี่ เจี๋ย)
กฏของฟ้าเข้มงวดกวดขัน ต้องดำเนินตามพุทธระเบียบ ทำอะไรมีลำดับก่อนหลัง ต้องมีกรอบบรรทัดฐาน อย่าสร้างกรอบสร้างกฏขึ้นมาเอง และแก้ไขเปลี่ยนแปลงพุทธระเบียบตามใจชอบ และทำลายกฏพุทธะจริยระเบียบ


9.   敬畏精神 (จิ้ง เว่ย จิง เสิน) มีจิตเคารพยำเกรง
《敬畏精神》:對老中及諸天神聖要有敬畏的精神(內誠外敬)與禮儀,以表對道之尊敬。對前賢要有敬畏之心,以感謝成全鼓勵之恩。
((จิ้ง เว่ย จิง เสิน) ตุ้ย เหลา หมู่ จี๋ จู เทียน เสิน เซิ่ง เย่า โหย่ว จิ้ง เว่ย เตอะ จิง เสิน (เน่ย เฉิง ไว่ จิ้ง) อวี่ หลี่ อี๋, อี๋ เปี่ยว ตุ้ย เต้า จือ จุน จิ้ง, ตุ้ย เฉียน เสียน เย่า โหย่ว จิ้ง เว่ย จือ ซิน, อี๋ กั่น เซี่ย เฉิง เฉวียน กู่ ลี่ จือ เอิน)
ควรมีจิตเคารพยำเกรงต่อพระอนุตตรธรรมเจ้า มวลพุทธะโพธิสัตว์และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ (ภายในจิตศรัทธาจริงใจ ภายนอกเคารพ) แสดงออกซึ่งจริยะ เคารพให้เกียรติญาติธรรม มีความเคารพยำเกรงต่อนักธรรมอาวุโส สำนึกขอบพระคุณที่ท่านคอยส่งเสริมและให้กำลังใจ

10.   禁談俗事 (จิ้น ถัน สู ซื่อ) ไม่คุยเรื่องโลกียวิสัย
《禁談俗事》:來到佛堂,以聖事爲重,不論道場及他人是非與長短,應隱惡揚善,多鼓舞互相勉勵。
((จิ้น ถัน สู ซื่อ) ไหล เต้า ฝอ ถัง, อี่ เซิ่ง ซื่อ เหวย จ้ง, ปู๋ ลุ่น เต้า ฉ่าง จี๋ ทา เหยิน ซื่อ เฟย อวี่ ฉาง ต่วน, อิง อิ่น เอ้อ หยาง ซั่น, ตัว กู๋ อู่ ฮู่ เซียง เหมี่ยน ลี่)
มาถึงพุทธสถาน ต้องเห็นความสำคัญของงานธรรมเป็นอันดับหนึ่ง ไม่คุยเรื่องโลกีย์วิสัย ไม่พูดถกวิพากษ์วิจารณ์จุดดีจุดด้อยของอาณาจักรธรรมและผู้อื่น รู้จักปิดบังสิ่งที่ไม่ดี ประกาศคุณความดีของผู้อื่น (หมายถึงไม่เปิดเผย แฉเรื่องราวบ่งพร่องหรือที่ไม่ดีของผู้อื่น รู้จักพูดในสิ่งดีงาม เสริมบารมีซึ่งกันและกัน) หมั่นให้กำลังใจส่งเสริมให้กำลังใจซึ่งกันและกัน

11.   言語要低 (เหยียน อวี่ เย่า ตี) วาจาอ่อนโยนมีมารยาท
《言語要低》:佛堂內談話須輕聲,不可喧嘩亂嚷,以顯佛堂清靜莊嚴。
((เหยียน อวี่ เย่า ตี) ฝอ ถัง เน่ย ถัน ฮว่า ซวี ชิง เซิง, ปู้ เข่อ เซวียน ฮว๋า ล่วน หยั่ง, อี๋ เสี่ยน ฝอ ถัง ชิง จิ้ง จวง เหยี่ยน)
อยู่ในสถานธรรมควรพูดคุยกันเสียงเบาๆ อย่าส่งเสียงดังอึกทึกสร้างความวุ่นวาย เพื่อให้ปรากฏถึงความวิสุทธิ์สงบและศักดิ์สิทธิ์สง่างามของพุทธสถาน

12.   接物待人 (เจีย อู้ ไต้ เหยิน) รู้จักต้อนรับขับสู้
《接物待人》:道親之間以誠相待,謙恭有禮,不管做任何事,以「慈悲」道語相應,才能顯出道氣。
((เจีย อู้ ไต้ เหยิน) เต้า ชิน จือ เจียน อี่ เฉิง เซียง ไต้, เชียน กง โหย่ว หลี่, ปู้ ก่วน จั้ว เยิ่น เหอ ซื่อ, อี่ “ฉือ เปย” เต้า อวี่ เซียง อิ้ง, ไฉ เหนิง เสี่ยน ชู เต้า ชี่)
ระหว่างญาติธรรมด้วยกันปฏิบัติต่อกันด้วยความจริงใจศรัทธา เคารพนอบน้อมมี
จริยมารยาทต่อกัน ไม่ว่าทำการใดอาศัยจิตเมตตาเป็นที่ตั้ง ถ้อยทีถ้อยอาศัยพูดคุยกันด้วยเหตุผลด้วยหลักธรรม จึงปรากฏบรรยากาศธรรม

13.   招呼道親 (เจา ฮู เต้า ชิน) ทักทายญาติธรรม
《招呼道親》:應以溫馨關心之行動,送往迎來招呼道親,以表佛堂之溫暖彼此間親切感。
((เจา ฮู เต้า ชิน) อิง อี่ เวิน ซิน กวน ซิน จือ สิง ต้ง, ซ่ง หวั่ง อิ๋ง ไหล เจา ฮู เต้า ชิน, อี๋ เปี่ยว ฝอ ถัง จือ เวิน หน่วน ปี๋ ฉื่อ เจียน ชิน เชี่ย กั่น)
การปฏิบัติต่อญาติธรรม ควรแสดงออกถึงท่าทีอ่อนโยนอุบอุ่นและเอาใจใส่ ต้อนรับขับสู้ทักทายญาติธรรมนั้นจะต้อง ให้ได้สัมผัสถึงบรรยากาศที่อบอุ่นเป็นกันเองของสถานธรรม และความใกล้ชิดสนิทสนมระหว่างญาติธรรมด้วยกัน

14.   教導禮節 (เจียว เต่า หลี่ เจี๋ย) นำพาสอนพุทธะจริยระเบียบ
《教導禮節》:如有道親禮節未熟悉,要主動教導或陪伴參辭駕,以帶動新道親的參與惑。
((เจี้ยว เต่า หลี่ เจี๋ย) หยู โหย่ว เต้า ชิน หลี่ เจี๋ย เว่ย โสว ซี, เย่า จู่ ต้ง เจี้ยว เต่า, ฮั่ว เผย ปั้น ชัน ฉือ เจี้ย, อี่ ไต้ ต้ง ซิน เต้า ชิน เตอะ ชัน อวี่ ฮั่ว)
หากมีญาติธรรมที่ยังไม่ชำนาญหรือไม่คุ้นเคยจริยะระเบียบ ควรกระตือรืนร้นสอนเขา หรือไม่ก็ชันเจี้ยเป็นเพื่อนนำพาญาติธรรมใหม่ และทำให้ญาติธรรมมีความรู้สึกว่าอยากจะมาเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ
15.   講解勸化 (เจี่ยง เจี่ย เชวี่ยน ฮว่า) รู้จักอธิบาย และตักเตือนกล่อมเกลา
《講解勸化》:如道親同修對道的真理有未明瞭之處,能加以講解或鼓勵成全,讓大家對道的信心更堅定。
((เจี๋ยง เจี่ย เชวี่ยน ฮว่า) หยู เต้า ชิน ถง ซิว ตุ้ย เต้า เตอะ เจิน หลี่ โหย่ว เว่ย หมิง เหลียว จือ ชู่, เหนิง เจีย อี่ เจี๋ยง เจี่ย ฮั่ว กู่ ลี่ เฉิง เฉวียน, ยั่ง ต้า เจีย ตุ้ย เต้า เตอะ ซิ่น ซิน เกิ้ง เจียน ติ้ง)
หากญาติธรรมและเพื่อนร่วมบำเพ็ญ มีจุดไหนยังกระจ่างไม่เข้าใจในหลักธรรม ควรอธิบาย หรือส่งเสริมให้กำลังใจ เพื่อให้ทุกคนมีความมั่นคงเชื่อมั่นต่อธรรมะมากยิ่งขึ้น

16.   入座端正 (ยู่ จั้ว ตวน เจิ้ง) นั่งตัวตรงสง่างาม
《入座端正》:在上課之時不可蹺腳,以免對仙佛與前賢失禮,更何況學道者應有立如松、坐如鐘之精神,以顯修行者風度。
((ยู่ จั้ว ตวน เจิ้ง) ไจ้ ซั่ง เค่อ จือ สือ ปู้ เข่อ เชี่ยว เจี่ยว, อี๋ เหมี่ยน ตุ้ย เซียน ฝอ อวี่ เฉียน เสียน ซือ หลี่, เกิ้ง เหอ ค่วง เสวีย เต้า เจ่อ อิง โหย่ว ลี่ หยู ซง, จั้ว หยู จง จือ จิง เสิน, อี๋ เสี่ยน ซิว สิง เจ่อ เฟิง ตู้)
ขณะนั่งเข้าชั้นเรียนอย่านั่งไขว่ห้าง เพื่อจะได้ไม่เสียมารยาทต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์และนักธรรมอาวุโส ผู้บำเพ็ญธรรมนั้น สมควรมีพลังสมาธิยืนตัวตรงดั่งต้นสน นั่งดั่งระฆัง เพื่อแสดงให้ปรากฏถึงบุคลิกอันดีงามของผู้บำเพ็ญธรรม

17.   低心下氣 (ตี ซิน เซี่ย ชี่) จิตใจอ่อนน้อมถ่อมตน
《低心下氣》:在修道過程有未知或不明之處應虛心求教,不可愩高我慢,目中無人。
((ตี ซิน เซี่ย ชี่, ไจ้ ซิว เต้า กั้ว เฉิง โหย่ว เว่ย จือ ฮั่ว ปู้ หมิง จือ ชู่ อิง ซวี ซิน ฉิว เจี้ยว, ปู้ เข่อ ก้ง เกา หว่อ ม่าน, มู่ จง อู๋ เหยิน)
ในระหว่างขั้นตอนการบำเพ็ญ มีจุดไหนหรืออะไรที่ไม่รู้ไม่เข้าใจ รู้จักเรียนถาม ขอคำชี้แนะด้วยความอ่อนน้อมถ่อมตน ห้ามยะโสอวดดี ไม่เห็นใครในสายตา
18.   上立下起 (ซั่ง ลี่ เซี่ย ฉี่) เมื่อผู้ใหญ่ลุกเรายืน
《上立下起》:與點傳師及前賢談話,應站立以表尊敬,點傳師慈悲有指示再坐下。而與前輩同坐之時,前輩起立,後輩必須隨之起立。
((ซั่ง ลี่ เซี่ย ฉี่) อวี่ เตี่ยน ฉวน ซือ จี๋ เฉียน เสียน ถัน ฮว่า, อิง จั้น ลี่ อี๋ เปี่ยว จุน จิ้ง, เตี่ยน ฉวน ซือ ฉือ เปย โหยว จื่อ ซื่อ ไจ้ จั้ว เซี่ย, เอ๋อร์ อวี่ เฉียน เป้ย ถง จั้ว จือ สือ, เฉียน เป้ย ฉี่ ลี่, โฮ่ว เป้ย ปี้ ซวี สุย จือ ฉี่ ลี่)
ขณะคุยกับเตี่ยนฉวนซือและนักธรรมอาวุโส ควรจะยืนเพื่อแสดงความเคารพให้เกียรติท่าน หากเตี่ยนฉวนซือเมตตาชี้แนะหรืออนุญาติให้นั่งค่อยนั่งลง และเวลานั่งด้วยกันกับนักธรรมอาวุโส หากนักธรรมอาวุโสลุกขึ้น คนที่เป็นผู้น้อยจะต้องลุกขึ้นยืนตาม

19.   起身立正 (ฉี่ เซิน ลี่ เจิ้ง) เวลายืนยืนให้ตัวตรง
《起身立正》:上課中前賢問話或叫名之時,應喊「有」起身回應,挺身立正,不得歪斜,答後恭敬回座。
((ฉี่ เซิน ลี่ เจิ้ง) ซั่ง เค่อ จง เฉียน เสียน เวิ่น ฮว่า ฮั่ว เจี้ยว หมิง จือ สือ, อิง หั่น “โหย่ว” ฉี่ เซิน หุย อิ้ง, ถิ่ง เซิน ลี่ เจิ้ง, ปู้ เต๋อ วาย เสีย, ต๋า โฮ่ว กง จิ้ง หุย จั้ว)
ระหว่างเข้าชั้นเรียน เวลานักธรรมอาวุโสถามหรือเรียกชื่อ ควรตอบรับว่า “ครับ/ค่ะ” พร้อมกับลุกขึ้นตอบ ด้วยการยืนตัวตรง อย่าเอนไปเอนมา หลังตอบเสร็จ ทำความเคารพด้วยนบนอบ แล้วกลับไปนั่งที่เดิม

20.   不准談笑 (ปู้ จุ่น ถัน เซี่ยว) ไม่พูดคุยหัวเราะเสียงดัง
《不准談笑》:上課中不可交談嬉笑擾亂上課,否則有違佛規。
((ปู้ จุ่น ถัน เซี่ยว) ซั่ง เค่อ จง ปู้ เข่อ เจียว ถัน ซี เซี่ยว เหย่า ล่วน ซั่ง เค่อ, โฝ่ว เจ๋อ โหย่ว เหวย ฝอ กุย)
ขณะเข้าชั้นเรียน อย่าพูดคุย หัวเราะต่อกระซิกกัน สร้างความวุ่นวายในชั้นเรียน มิฉะนั้นจะผิดต่อพุทธระเบียบ
21.   聽講禁聲 (ทิง เจี่ยง จิ้น เซิง) ฟังธรรมงดเสียง
《聽講禁聲》:聽講中保持肅靜,有問題筆記錄,休息或下課再發問。
((ทิง เจี่ยง จิ้น เซิง) ทิง เจี่ยง จง เป่า ฉือ ซู่ จิ้ง, โหย่ว เวิ่น ถี ปี่ จี้ ลู่, ซิว สี ฮั่ว เซี่ย เค่อ ไจ้ ฟา เวิ่น)
ระหว่างฟังการบรรยายต้องรักษาความสงบ หากมีปัญหาหรือข้อสงสัยให้จดบันทึกไว้ ถึงเวลาพักหรือหลังเลิกชั้นเรียน ค่อยเรียนถาม

22.   非問勿言 (เฟย เวิ่น อู้ เหยียน) ฟังธรรมไม่ถาม อย่าพูด
《非問勿言》:上課中前賢沒有提問,請問發言,保持佛堂莊嚴。
((เฟย เวิ่น อู้ เหยียน) ซั่ง เค่อ จง เฉียน เสียน เหมย โหย่ว ถี เวิ่น, ฉิ่ง เวิ่น ฟา เหยียน, เป่า ฉือ ฝอ ถัง จวง เหยียน)
ระหว่างเข้าชั้นเรียนหากนักธรรมอาวุโสไม่ถามอย่าได้พูด รักษาความศักดิ์สิทธิ์ สง่างาม ของพุทธสถาน

23.   有問必答 (โหย่ว เวิ่น ปี้ ต๋า) เมื่อมีถาม ให้ตอบ
《有問必答》:前賢有提問時,請盡力回答,不明之之處請求慈悲指示。
((โหย่ว เวิ่น ปี้ ต๋า) เฉียน เสียน โหย่ว ถี เวิ่น สือ, ฉิ่ง จิ้น ลี่ หุย ต๋า, ปู้ หมิง จือ ชู่ ฉิ่ง ฉิว ฉือ เปย จื่อ ซื่อ)
ขณะนักธรรมอาวุโสถาม ควรพยายามตอบคำถาม จุดใดไม่เข้าใจขอนักธรรมอาวุเมตตาชี้แนะ

24.   不分貧富 (ปู้ เฟิน ผิน ฟู่) ร่ำรวยหรือยากจนไม่แบ่งแยกฐานะ
《不分貧富》:眾生平等,貧富無別,因大家都是老中的原佛子,應同樣以禮相待,互相勉勵成全。
((ปู้ เฟิน ผิน ฟู่) จ้ง เซิง ผิง เติ่ง, ผิน ฟู่ อู๋ เปี๋ย, อิน ต้า เจีย โตว ซื่อ เหลา หมู่ เตอะ เอวี๋ยน ไท ฝอ จื่อ, อิง ถง ยั่ง อี๋ หลี่ เซียง ไต้, ฮู่ เซียง เหมี่ยน ลี่ เฉิง เฉวียน)
เวไนยสัตว์ล้วนเสมอภาค ไม่ได้แตกต่างกันที่ความร่ำรวยสูงศักดิ์หรือยากจนต่ำต้อย เพราะทุกคนล้วนเป็นพุทธบุตรเดิมของพระแม่องค์ธรรม ดังนั้นทุกคนควรปฏิบัติต่อกันอย่างมีจริยะด้วยความเสมอภาค ต่างร่วมส่งเสริมให้กำลังใจซึ่งกันและกัน

25.   一視同仁 (อี๋ ซื่อ ถง เหยิน) มองทุกคนด้วยจิตเมตตาเสมอภาค
《一視同仁》:同是一師之徒,一中之子,佛性平等,應不分彼此。
((อี๋ ซื่อ ถง เหยิน) ถง ซื่อ อี้ ซือ จือ ถู, อิ๊ หมู่ จือ จื่อ, ฝอ ซิ่ง ผิง เติ่ง,อิง ปู้ เฟิน ปี๋ ฉื่อ)
“ถง” หมายถึง “เหมือนกัน” ที่เหมือนกันก็คือ ต่างเป็นศิษย์อาจารย์เดียวกัน ล้วนต่างเป็นพุทธบุตรแห่งองค์ธรรมมารดาเช่นกัน พุทธจิตธรรมญาณล้วนเสมอภาค จึงไม่สมควรแบ่งแยก

* 2011427195541295.jpg (48.02 KB - ดาวน์โหลด 976 ครั้ง.)
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤษภาคม 18, 2013, 02:43:00 PM โดย 96rangjai-dd » บันทึกการเข้า
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  ตอบ  |  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

+ ตอบด่วน
 


96 ธรรมคือแรงใจ | ปิ๊งแว๊บ ! ปััญญาแจ่มบรรเจิด | อ่านธรรม | มูลนิธิเมตตาอาทร | เสบียงบุญ | วิถีอนุตตรธรรม |

โปรดอ่านกฎกติกาก่อนแสดงความคิดเห็น

1. โปรดงดเว้น การใช้คำหยาบคาย ส่อเสียด ดูหมิ่น กล่าวหาให้ร้าย สร้างความแตกแยก หรือกระทบถึงสถาบันอันเป็นที่เคารพ
2. ข้อความหรือรูปภาพที่ปรากฏในกระทู้ที่ท่านเห็นอยู่นี้ เกิดจากการตั้งกระทู้และถูกส่งขึ้นเวบบอร์ดโดยอัตโนมัติจากบุคคลทั่วไปและสมาชิก
ซึ่งทีมงาน 96rangjai มิได้มีส่วนร่วมรู้เห็น หรือพิสูจน์ข้อเท็จจริงใดๆ ทั้งสิ้น และไม่สามารถนำไปอ้างอิงทางกฎหมายได้
3. หากท่านพบเห็นข้อความ หรือรูปภาพในกระทู้ที่ไม่เหมาะสม กรุณาแจ้งทีมงานทราบ เพื่อดำเนินการต่อไป
4. ทีมงาน 96rangjai ขอสงวนสิทธิ์ในการลบความคิดเห็น โดยไม่ต้องชี้แจงเหตุผลใดๆ ต่อเจ้าของความคิดเห็นนั้น